คีย์สโตน (KEYSTONE) ตอน2
  ประวัติโปรเจคเตอร์ VDO/Computer
  คีย์สโตน (KEYSTONE) ตอน1
  ตารางเปรียบเทียบLCD&DLP
  Interlace
  เลนส์ควบแสงในเครื่องฉายสไลด์
  อัตราส่วนเปรียบต่าง ตอน1
  เตรียมตัวก่อนเลือก
ซื้อโปรเจคเตอร์
  ปลั๊กสัญญาณภาพ
  เปรียบต่าง(Contrast)ตอนจบ
  โปรเจคเตอร์จอกว้าง
  Up-date ปี 2551
  โปรเจคเตอร์จิ๋ว
  ด้านหน้า/หลัง ของเลนส์
  ฉายภาพ
  เปรียบต่าง(Contrast) ตอน3
  โปรเจคเตอร์ที่มีระยะฉายสั้น
  BrighEra LCD ยุคใหม่
  ลูเมนขาว/ลูเมนสี
  เปรียบต่าง(Contrast) ตอน2
  Kell Factor
  เปรียบต่าง(Contrast) ตอน1
  ความละเอียดของ   
  วิชวลไลเซอร์
  Rainbow Color Artifact
  ปัญหา Screen Door Effect
  Rule of Sixth
  การเลือกซื้อจอภาพระบบ  
  LCD TV
 
 
 
 
 
   
 
 
 
 

   ผมได้รับการขอร้องให้เขียนบทความบางเรื่อง แต่มีอยู่ 2 เรื่องที่ผมไม่ถนัด

1.
วิจารณ์สินค้า
2.
แนะนำวิธีเลือกโปรเจคเตอร์
   
1. วิจารณ์สินค้า
     ผมไม่สามารถที่จะขอยืมโปรเจคเตอร์จากผู้นำเข้าทั้งหลายมาทดลองใช้  ไม่มีเวลาพอ แถมยังไม่มีเครื่องมือทดสอบเพียงพอและห้อง
ฉายที่มืดสนิท อีกประการหนึ่ง  ผู้ที่ทำหน้าที่แบบนี้ส่วนใหญ่จะเขียนเชียร์สินค้าเพื่อแลกกับการลงโฆษณา และผมไม่อยากให้คนมองผม
ในแง่นั้น หรือเขียนตำหนิแล้วต้องผิดใจกับเจ้าของสินค้า อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
ความรู้

 
 
  วันที่ 29 ก.ย. 2558 เรื่อง คีย์สโตน ตอนที่ 2
  เมื่อครั้งที่ผมเขียนบทความเรื่องคีย์สโตน (ตอน1)  ผมได้ทดลองให้ความรู้แบบท่องจำ โดยหวังว่าจะมีบางคนสงสัยโต้แย้งกลับมา แต่ก็ไม่ม
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
  วันที่ 1 ก.ค. 2558 เรื่อง ประวัติโปรเจคเตอร์ VDO/Computer
  ประวัติความเป็นมาของเครื่อง VDO/Computer
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
  วันที่ 26 ม.ค. 2555 เรื่อง คีย์สโตน
  รูปทรงของภาพ แทนที่จะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า กลับกลายเป็นสี่เหลี่ยมคางหมู ซึ่งภาษาอังกฤษ เขาเรียกว่า Keystone Effect
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
  วันที่ 3 ต.ค. 2554 เรื่อง ตารางใช้เปรียบเทียบ
  ตารางใช้เปรียบเทียบเทคโนโลยีสร้างภาพแบบ LCD&DLP เพื่อใช้ตัดสินใจในการเลือกซื้อโปรเจคเตอร์
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
  วันที่ 22 ก.ค. 2554 เรื่อง Interlace
  เดิมตั้งใจจะไม่เขียนเรื่อง interlace เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่เก่าและจวนจะหมดยุคในไม่ช้า แต่เมื่อถูกถามให้เขียนเรื่อง Scaler ถี่ขึ้น ผมจึงต้องปูฐานด้วยเรื่อง interlace และคงจะแถมเรื่อง noninterlace นอกจากนั้นยังต้องเขียนเรื่องพิกเซลที่เปลี่ยนขนาดได้ และพิกเซลที่ขนาดตายตัว และตามด้วยเรื่อง line doubler ถึงจะเขียนเรื่อง scaler ได้
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
วันที่ 7 ก.ย. 2553   เรื่อง  เลนส์ควบแสงในเครื่องฉายสไลด์
  บทความนี้น่าจะเผยแพร่ตั้งแต่สมัยที่ยังมีการสอนวิชาโสตทัศนศึกษา แต่เมื่อมีนิตยสารออนไลน์ AV Comm จึงเห็นสมควรที่จะนำมาเผยแพร่ เพื่อให้เจ้าหน้าที่โสตฯที่ยังสนใจไขว่หาความรู้ และผู้อ่านทั่วๆไปได้เข้าใจ อย่างน้อยจะได้รู้ว่า เลนส์นูนนั้นคือเลนส์ควบแสงจริงๆ ไม่ใช่เลนส์เกลี่ยแสงอย่างที่สอนกันในหลายสถาบันการศึกษา
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
 
   
เรื่อง  เตรียมตัวก่อนเลือกซื้อโปรเจคเตอร
ผมเคยเขียนที่เว็บไซต์ของผมว่าจะไม่เขียนบทความแนะนำการเลือกซื้อโปรเจคเตอร์ เพราะเคยเขียนขึ้นมาหลายรอบแล้วแต่ไม่ได้เรื่อง เนื่องจากทั้งเยิ่นเย้อและสับสน แถมมีบทความทำนองนี้ของคนอื่นที่ผมเห็นว่าใช้ได้ (น่าจะแปลมาจากบทความต่างประเทศ)
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
 
   
วันที่ 3 มิ.ย. 2553   เรื่อง  อัตราส่วนเปรียบต่าง ตอน 1
ขออนุญาตขยายบทความ “เปรียบต่างตอน 4” นิดหน่อย ในช่วงท้ายๆของบทความผมบอกว่า การปรับค่าเปรียบต่างให้เหมาะสมคือให้ปรับค่าเกรสเกลให้แต่ละแถบแยกออกจากกันตอนที่เขียนบทความนั้น ผมรู้สึกว่า
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
 
   
วันที่ 4 ธ.ค. 2552   เรื่อง  ปลั๊กสัญญาณภาพ
มีโสตทัศนูปกรณ์ชิ้นหนึ่งที่สร้างความอัศจรรย์ใจให้กับผมอย่างมาก  ตรงที่มีช่องรับสัญญาณเพียบ  บางชนิดมีมาก
กว่า 1 ช่อง นั่นคือจอ TV  LCD และ PDP(Plasma Display Panel) เฉพาะช่องรับสัญญาณภาพมี
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
 
   
วันที่ 13 ก.ค. 2552   เรื่อง  เปรียบต่างตอนจบ
ตอนนี้เป็นบทสุดท้าย "เปรียบต่าง" ซึ่งก่อนหน้านี้เป็นการอธิบายว่า เปรียบต่างคืออะไร  ตอนนี้จะเป็นการแนะนำ
วิธีใช้งานซึ่งแท้จริงแล้วไม่ยากอะไร  อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
 
   
 
วันที่ 20 พ.ค. 2552  เรื่อง โปรเจคเตอร์จอกว้าง
โปรเจคเตอร์จอกว้าง ไม่ใช่ของใหม่ โปรเจคเตอร์จอกว้างมีมานานมากพอสมควรในเซคเมนท์โฮมเธียร์เตอร์ เพื่อ
รองรับวีดีโอในมาตรฐาน DVD ที่ภาพมีจำนวนจุดภาพ 1280 x 720 พิกเซล   อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
 
   
 
วันที่ 15 ม.ค. 2552  เรื่อง ปรับปรุงบทความต่าง ๆ ที่ลงในหมวดความรู้ ให้สมบูรณ์มากขึ้น
ผมเริ่มเขียนบทความด้านความรู้ที่เว็บไซท์นี้เป็นครั้งแรกหลังจากไปฟังการเสวนาของเหล่าบรรณาธิการนิตยสาร
ระดับไฮเอนด์(High End)ด้านภาพที่โรงแรมแอมบาสเชาดย์เมื่อต้นเดือนธันวาคม 2550  ตามด้วยอีกหลายบท
ความพอใกล้สิ้นปี พ.ศ. 2551  ผมเห็นว่าบางบทความสมควรมีการปรับปรุง(up-date)   อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
   
 
วันที่ 3 ต.ค. 2551  เรื่อง โปรเจคเตอร์จิ๋ว

แม้รางวัลจะสูงแต่ค่าพัฒนาสินค้าจะสูงกว่านั้นหลายเท่าตัว กระนั้นก็ดีมีการพัฒนาโปรเจคเตอร์จิ๋วอย่างต่อเนื่อง
จนกระทั่ง 3-5 ปีมานี้ Mitsubishi ได้ผลิตโปรเจคเตอร์ขนาดประมาณ 15 x 10 x 5 ซม. ในชื่อ Pocket
Projector ที่สามารถใช้งานได้จริง เพียงแต่ความสว่างยังต่ำมาก  อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...

 
   
 
วันที่ 5 ก.ย. 2551  เรื่อง ด้านหน้า/หลัง ของเลนส์ฉายภาพ
นี่เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เราเรียนเกี่ยวกับเลนส์นูน และเลนส์เว้าว่าแสงที่ส่องผ่านเลนส์นูนนั้นจะหักเหรวมเป็นจุดโฟกัส
ที่หลังเลนส์  ส่วนแสงที่ส่องผ่านเลนส์เว้านั้นจะบานออก หากเราตีเส้นของแสงที่บานออกให้ย้อนกลับมา (ส่วนใหญ่
เขียนภาพบรรยายด้วยเส้นประ) แสงจะรวมกันที่จุดโฟกัสหน้าเลนส์  อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
   
 
วันที่ 7 ส.ค. 2551  เรื่อง เปรียบต่าง(Contrast) ตอน 3
อย่างที่ผมได้เกริ่นไว้แต่แรกว่าบทความนี้ผมเขียนขึ้นเองไม่ได้ดัดแปลงจากบทความต่างประเทศ โดยใช้รูปประกอบ
เพื่อให้ผู้อ่านเห็นปุ๊บเข้าใจปั๊บ ดังนั้นอาจมีผิดบ้างบางขั้นตอนได้  อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
   
 
วันที่ 25 ก.ค. 2551  เรื่อง โปรเจคเตอร์ที่มีระยะฉายสั้น
โปรเจคเตอร์ที่มีระยะฉายสั้นก็เมื่อ 3-4 ปีมาแล้ว NEC ได้ผลิตโปรเจคเตอร์ DLP ที่มีรูปร่างเหมือนแบตเตอรี่
รถยนต์ขนาดใหญ่เป็นรูปกล่องสี่เหลื่ยมที่มีหูหิ้วด้านบน 1 คู่ NEC บอกว่าเป็นโปรเจคเตอร์ที่ไม่ใช้เลนส์ฉาย และ
ภาพที่ฉายก็ทำมุมสูงมากเป็นพิเศษ  อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
   
 
วันที่ 10 ก.ค. 2551  เรื่อง BrighEra LCD ยุคใหม่
Bright Era แท้จริงแล้วก็ คือ LCD รุ่นใหม่ของ Sony  ซึ่ง LCD รุ่น Bright Era นั้น Sony ได้ทยอยผลิตออก
หลายรุ่น และที่มีความละเอียดสูงสุด คือ 4K เช่นเดียวกับ SXRD รวมทั้ง Sony ยังได้ผลิตเป็นโปรเจคเตอร์สำเร็จ
รูป  แต่รูปร่างเหมือนกับเหรียญจตุคามฯ 3-4 แว่นซ้อนกันแล้วมีท่อเลนส์ยื่นออกมา   อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
   
 
วันที่ 29 พ.ค. 2551  เรื่อง ลูเมนขาว/ลูเมนสี
จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจว่าทำไมโปรเจคเตอร์ LCD จึงสว่างกว่าDLP สมัยแรกโปรเจคเตอร์ DLP ที่ใช ้DMD แผ่น
เดียว ใช้ล้อสี (Color Wheel) 3 ช่อง แต่ละช่องจะมีฟิลเทอร์สีแดง เขียว และน้ำเงิน โปรเจคเตอร์ DLP ก็ยังมืดกว่า
โปรเจคเตอร์ LCD พอสมควร  อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ เม.ย.. 2551  เรื่อง เปรียบต่าง(Contrast) ตอน 2
ผมขอแนะนำผู้อ่านอย่ารีบด่วนเชื่อทุกสิ่งที่ผมบรรยายในทันที กรุณาตรองก่อน ในเมื่อผมเคยวิจารณ์คนอื่น ๆ ในทำนองว่าพวกเขาผิด แทบทั้งสิ้น อย่างกับว่าผมถูกคนเดียว
เมื่อตรองแล้วเห็นว่าผมผิด จะโต้กลับมาก็ยินดี หากผมผิดก็จะสามารถแก้ไขได้ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ เม.ย.. 2551  เรื่อง Kell Factor
Kell Factor นั้น ใช้ได้กับโปรเจคเตอร์ที่แผงสร้างภาพไม่สามารถปรับขนาดได้ (fix pixel count) อย่างเช่น LCD DLP (DMD) LCos ส่วน CRT นั้นสามารถปรับขนาดของพิกเซลได้จึงไม่สามารถนำ Kell Factor มาใช้ได้
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ มี.ค.. 2551  เรื่อง เปรียบต่าง(Contrast) ตอน 1
ในแวดวงถ่ายภาพในสมัยที่ยังนิยมถ่ายและขยายภาพเป็นภาพขาว / ดำ จะต้องดูความ เปรียบต่าง เป็น โดยเฉพาะภาพที่ถ่ายมืดไป (under exposed) ค่า เปรียบต่างจะ ต่ำ ส่วนภาพถ่ายที่สว่างไป(over exposed) ค่า เปรียบต่างจะสูง
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ มี.ค.. 2551  เรื่อง ความละเอียดของ วิชวลไลเซอร์
ใวิชวลไลเซอร์ ส่วนใหญ่มีความละเอียด 3 ระดับ คือ 470,000 พิกเซล 800,000 พิกเซล และ 850,000 พิกเซล ขณะห้างฯ วีระซัพพลายส์ เน้นการจำหน่ายวิชวลไลเซอร์ที่ความละเอียด 470,000 พิกเซล และ 850,000 พิกเซล เท่านั้นอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ ก.พ.. 2551  เรื่อง Rainbow Color Artifact
ปัญหา นี้เกิดขึ้นกับโปรเจค เตอร์ ที่ใช้เทคโนโลยีสร้างภาพ DLP และใช้ DMD แผ่นเดียว ซึ่งต้องฉายภาพทีละสี (แดง เขียว น้ำเงิน สลับกัน ซึ่งปัจจุบันมีขาว และอาจมีเหลืองด้วย)
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ ก.พ.. 2551  เรื่อง Screen Door Effect
ผู้ซื้อสามารถเห็นว่าภาพที่มีความละเอียดสูงมากขึ้นเท่าไหร่แก็ปที่เป็นช่อง ว่างระหว่างพิกเซลจะยิ่งแคบเข้าเท่านั้น หมายความว่ายิ่งเห็น Screen Door Effect ได้ยากขึ้น
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ ม.ค... 2551  เรื่อง Rule of Sixth
ความจริงน่าจะเรียกว่า Rule of One Sixth ซึ่งแปลว่ากฎของ 1/6 แต่ที่เขาตัดคำว่า One ออกไปอาจเหมือนคนไทยที่ชอบพูด หนึ่งร้อย อย่างสั้น ๆ ว่า ร้อย โดยตัดคำว่าหนึ่งออกไป นี่เป็นการเดาของผมนะครับ
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
 
วันที่ ม.ค... 2551  เรื่อง การ เลือกซื้อจอภาพในระบบ LCD TV
านแรกที่พูดนำ ให้ความรู้ถึงพื้นฐาน และความเป็นไปของเทคโนโลยี CRT LCD Plasma และโทรทัศน์ ซึ่งก็มีผิดบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่ถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ เพราะถึงแม้ผิดก็เสียหายไม่มาก
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม....
   
   
 
 
     
 
 
  ห้างหุ้นส่วนจำกัด วีระซัพพลายส์  
  81-83 ซอย เฉลิมเขตร์ 1 ถนน เฉลิมเขตร์ แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กทม. 10100  
  โทร. (02) 2211424, 2231864, 2239122, 6216198-9 แฟกซ์ (02) 2249231